ผลงานวิชาการ ของ คาร์ล แบร์รี ชาร์เพลส

ชาร์เพลสดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (ค.ศ. 1970–1977 และ 1980–1990) และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (ค.ศ. 1977–1980)[7] ขณะประจำอยู่ที่สแตนฟอร์ดเขาค้นพบปฏิกิริยาอีพอกซิเดชันชาร์เพลส (Sharpless epoxidation) ในการสังเคราะห์ (+)-disparlure ซึ่งเป็นฟีโรโมนของผีเสื้อยิปซี (gypsy moth) และเขายังคงใช้ปฏิกิริยานี้ในงานวิจัยของเขาหลังจากกลับไปประจำที่เอ็มไอที[5] ชาร์เพลสดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ดับเบิลยู. เอ็ม. เค็กที่ศูนย์วิจัยสคริปส์ (Scripps Research) ตั้งแต่ ค.ศ. 1990

แหล่งที่มา

WikiPedia: คาร์ล แบร์รี ชาร์เพลส http://www.nndb.com/people/854/000100554/ http://sciencewatch.com/nobel/predictions/modular-... http://web.mit.edu/newsoffice/1992/safety-0311.htm... http://www.scripps.edu/chem/sharpless/ //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11433435 http://uli.nli.org.il/F/?func=find-b&local_base=NL... http://data.bibliotheken.nl/id/thes/p072982888 //doi.org/10.1002%2F1521-3773(20010601)40:11%3C200... //doi.org/10.1071%2FCH06457 //www.worldcat.org/issn/0004-9425